ISM Non-Manufacturing PMI ของสหรัฐที่มีความสำคัญอย่างมาก
วันนี้ 5 กุมภาพันธ์ 2019 มีการประกาศในอีกหนึ่งจากประกาศของประเทศสหรัฐอเมริกาก็คือการประกาศ ISM Non-Manufacturing PMI
โดยที่การประกาศที่จะประกาศในช่วงเวลา 22:00 น. ตามเวลาประเทศไทยซึ่งแน่นอนว่านักลงทุนตลาดเงินต่างจับตาบอกว่าจะประกาศจะออกมาในทิศทางไหนแต่ในส่วนของการประกาศนี้ยังมากกว่า 50 จึงอาจจะมีน้ำหนักน้อยกว่าต้องรอดูว่าในทิศทางของการประกาศ ISM Non-Manufacturing PMI หรือเรียกว่าการประกาศดัชนีพีเอ็มไอภาคการบริการจากสถาบันไอเอสเอ็มซึ่งประกาศของเดือนมกราคมจะมีการประกาศออกมามีความสัมพันธ์กับดัชนีพีเอ็มไอภาคการผลิตหรือไม่
ซึ่งในการประกาศดัชนีพีเอ็มไอภาคการบริการจากสถาบันไอเอสเอ็มในกลุ่มการประกาศนี้จะมีหลายการประกาศลำดับกันว่าในการประกาศนี้จะมีการประกาศอะไรที่จะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินดอลล่าร์บ้าง
การประกาศหลักการคือการประกาศดัชนีพีเอ็มไอภาคการบริการจากสถาบันไอเอสเอ็มประจำเดือนมกราคมนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมาก็คือ 57.2 ครั้งก่อนก็คือ 57.6
การประกาศที่สองก็คือการประกาศดัชนีการจ้างงานนอกภาคการผลิตจากสถาบันไอเอสเอ็มประจำเดือนมกราคมครั้งก่อนก็คือ 56.6 ซึ่งไม่มีการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์
การประการที่สามก็คือการประกาศคำสั่งซื้อใหม่นอกภาคการผลิตจากสถาบันไอเอสเอ็มประจำเดือนมกราคมซึ่งครั้งก่อนก็คือ 62.7 นักวิเคราะห์ไม่ได้ให้การคาดการณ์ทิ้งไว้
ซึ่งสังเกตว่าในการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์จะมีการคาดการณ์เพียงแค่ดัชนีพีเอ็มไอภาคการบริการจากสถาบันไอเอสเอ็มเท่านั้นแต่ในช่วงที่จะถึงนี้ตัวเลขที่สำคัญไม่ว่าจะเป็นทั้งดัชนีการจ้างงานนอกภาคการผลิต หรือแม้กระทั่งคำสั่งซื้อใหม่นอกภาคการผลิตจากสถาบันไอเอสเอ็มประจำเดือนมกราคมมีความสำคัญเช่นเดียวกันซึ่งอีกหนึ่งการประกาศที่ประกาศก่อนหน้าในช่วงเวลา 21:45 น. คือการประกาศดัชนีพีเอ็มไอรวมจาก Markit ประจำเดือนมกราคมรวมทั้ง ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อพีเอ็มไอภาคการบริการประจำเดือนมกราคม
โดยที่การประกาศแรกก็คือดัชนีพีเอ็มไอรวมจาก Markit ประจำเดือนมกราคมนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมาก็คือ 54.5 ซึ่งเท่ากันกับครั้งก่อนรวมทั้งการประการที่สองก็คือดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อพีเอ็มไอภาคการบริการประจำเดือนมกราคม โดยนักวิเคราะห์ได้คาดการณ์เอาไว้ว่าจะประกาศออกมาก็คือ 54.2 ซึ่งครั้งก่อนก็คือ 54.2 เช่นเดียวกัน
นั้นเราต้องมาดูกันว่าในการประกาศในครั้งนี้จะสร้างความผันผวนให้กับสกุลเงินดอลล่าร์มากน้อยแค่ไหน
โดยที่สกุลเงินดอลล่าร์เทียบกับสกุลเงินเยน หรือเรียกว่า EUR/USD ในตอนนี้มีการดีดตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องเนื่องจากตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์มีการปรับตัวขึ้นเล็กน้อยและโดนกดดันมาจากสกุลเงินดอลล่าร์ที่มีการปรับตัวสูงขึ้นหลังจากที่สกุลเงินยูโรมีการปรับตัวร่วงลงจากหลายเหตุการณ์ไม่ว่าจะเป็นการประกาศต่างๆในสมาชิกยูโรโซนที่มีการประกาศออกมาเริ่มออกมาในทิศทางที่แย่ลงดังนั้นถ้าเกิดว่ามีการดีดตัวขึ้นควรติดตามกรอบแนวรับแนวต้านที่สำคัญ
ถ้ามีการดีดตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องแนวต้านที่สำคัญได้ก็คืน 110.015 โดยที่ถ้าสามารถยื่นเหลือในราคาดังกล่าวอีกหนึ่งแนวต้านที่นักลงทุนตลาดเงินต่างจับตามองก็คือ 110.124 เนื่องจากว่าถ้าสามารถดีดตัว ทะลุในราคาดังกล่าวและยังดีดตัวขึ้นไปอย่างต่อเนื่องอาจจะอยู่ในทิศทางขาขึ้นระยะสั้นถึงระยะกลาง
มีการปรับตัวร่วงลงแนวรับแรกก็คือ 109.808 และแนวรับที่สองก็คือ 109.739 และถ้าเกิดว่ามีการปรับตัวร่วงลงอย่างต่อเนื่องทะลุในราคาดังกล่าวอาจจะอยู่ในทิศทางขาลงในระยะสั้นอีกหนึ่งแนวรับที่สำคัญก็คือ 109.538
แนะนำว่าควรติดตามการประกาศนี้เนื่องจากว่าการประกาศในส่วนนี้อาจจะคาดการณ์ได้ว่าการประกาศต่อไปจะมีการประกาศอย่างไรเช่นในการประกาศนี้มักจะส่งผลและสร้างความเป็นผัวให้กับตลาดหุ้น Nikkei ฟิวเจอร์รวมทั้งในส่วนของการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์ว่าในการประกาศดัชนีจีดีพีในครั้งหน้าอาจจะมีการประกาศออกมาในทิศทางไหนต้องรอดูว่าความผันผวนจะเป็นอย่างไร
ท่านที่เทรดสกุลเงินนี้ นั้นควรให้สังเกตตาม Zone แนวรับแนวต้าน หรือเรียกว่า (MODULE) ตรงที่แจ้งไว้ด้วยเนื่องจากอาจจะมีความผันผวนจนสุด Zone หรือ (MODULE) ซึ่งในการเทรดนั้นท่านที่ยังไม่มี Order หรือมีออเดอร์ USD ติดอยู่ ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยนะครับ
(แนวรับแนวต้านหรือเรียกว่า Module นั้นก็คือ ZONE ดังนั้นเป้าหมายที่แจ้งไปคือ Zone ดังนั้นไม่ต้องตามเป้าหมายเป๊ะแต่ให้ดูตาม Zone เพื่อจะเป็นจุดสำคัญในการตัดสินใจว่าจะเข้าเทรดหรือตัดสินใจของการเข้าออกออเดอร์หรือการจัดการออเดอร์ที่ดีที่สุด